ข้อมูล (Data) คือข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ
เช่น คน สัตว์สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องสามารถนำไปประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ได้มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและตลอดเวลาที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วเมื่อสถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างผันแปรขึ้นการเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์จะดำเนินการได้อย่างทันท่วงที
กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินงานการรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็วถูกต้องแม่นยำ ครบถ้วนดังนั้นผู้ดำเนินการจะต้องให้ความสำคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็วความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่นการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูลการใช้โทรสารการใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (Scanner) อ่านข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (barcode)
ชนิดของข้อมูล ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถเก็บบันทึกได้นั้นอาจจำแนกได้หลายรูปแบบที่สำคัญๆ ได้แก่
1.ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระหรือข้อความ (character data หรือ text) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระหรือข้อความหรือ เป็นข้อมูลที่อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์ โดยข้อมูลที่เป็นตัวเลขจะไม่สามารถนำไปคำนวณได้แต่สามารถนำไปจัดเรียงตามลำดับตัวอักขระ เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้และเปรียบเทียบได้ว่าเหมือนกับข้อมูลอื่นหรือไม่
2.ข้อมูลเชิงจำนวน (numerical data) มีลักษณะเป็นตัวเลขซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถนำไปคำนวณได้ตัวอย่างเช่นเงินเดือน คะแนน และยอดขาย เป็นต้นโดยข้อมูลที่เป็นตัวเลขอาจจำแนกได้ 2 รูปแบบ คือ ข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็ม Integer Number) เช่น 3, 5 และ-7 เป็นต้น และข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม เช่น 20.5, 125.75 และ -0.001เป็นต้น
3.ข้อมูลรหัส (code data) อาจเป็นตัวอักขระหรือข้อมูลเชิงจำนวนก็ได้ซึ่งมักจะมีการกำหนดขนาดความยาวไว้จำกัด เช่นรหัสที่ใช้ระบุเพศอาจเป็นตัวเลขหนึ่งตัวหรือตัวอักขระหนึ่งตัวได้แก่ 1 แทนด้วยเพศชาย และ 2 แทนด้วยเพศหญิงหรือเลขประจัวตัวนักเรียน เป็นต้นซึ่งข้อมูลรหัสนั้นไม่ได้นำไปใช้เพื่อการคำนวณแต่ใช้เพื่อการเปรียบเทียบนับหรือจัดกลุ่มข้อมูลที่มีรหัสตรงกับที่กำหนด
กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินงานการรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็วถูกต้องแม่นยำ ครบถ้วนดังนั้นผู้ดำเนินการจะต้องให้ความสำคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็วความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่นการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูลการใช้โทรสารการใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (Scanner) อ่านข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (barcode)
ชนิดของข้อมูล ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถเก็บบันทึกได้นั้นอาจจำแนกได้หลายรูปแบบที่สำคัญๆ ได้แก่
1.ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระหรือข้อความ (character data หรือ text) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระหรือข้อความหรือ เป็นข้อมูลที่อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์ โดยข้อมูลที่เป็นตัวเลขจะไม่สามารถนำไปคำนวณได้แต่สามารถนำไปจัดเรียงตามลำดับตัวอักขระ เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้และเปรียบเทียบได้ว่าเหมือนกับข้อมูลอื่นหรือไม่
2.ข้อมูลเชิงจำนวน (numerical data) มีลักษณะเป็นตัวเลขซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถนำไปคำนวณได้ตัวอย่างเช่นเงินเดือน คะแนน และยอดขาย เป็นต้นโดยข้อมูลที่เป็นตัวเลขอาจจำแนกได้ 2 รูปแบบ คือ ข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็ม Integer Number) เช่น 3, 5 และ-7 เป็นต้น และข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม เช่น 20.5, 125.75 และ -0.001เป็นต้น
3.ข้อมูลรหัส (code data) อาจเป็นตัวอักขระหรือข้อมูลเชิงจำนวนก็ได้ซึ่งมักจะมีการกำหนดขนาดความยาวไว้จำกัด เช่นรหัสที่ใช้ระบุเพศอาจเป็นตัวเลขหนึ่งตัวหรือตัวอักขระหนึ่งตัวได้แก่ 1 แทนด้วยเพศชาย และ 2 แทนด้วยเพศหญิงหรือเลขประจัวตัวนักเรียน เป็นต้นซึ่งข้อมูลรหัสนั้นไม่ได้นำไปใช้เพื่อการคำนวณแต่ใช้เพื่อการเปรียบเทียบนับหรือจัดกลุ่มข้อมูลที่มีรหัสตรงกับที่กำหนด
4.ข้อมูลวันที่ (date data) เป็นข้อมูลซึ่งกำหนดขึ้นเป็นพิเศษเพื่อให้สามารถแสดง วัน เดือน ปี
ที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐานได้ซึ่งข้อมูลวันที่จะมีประโยชน์มากในการคำนวณอายุหรือหาช่วงเวลาระหว่างวันที่หนึ่งไปยังอีกวันที่หนึ่ง
5.ข้อมูลภาพ (image data) เป็นข้อมูลภาพเช่น ภาพถ่าย หรือภาพที่จัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นข้อมูลที่แสดงความเข้มและสีของรูปภาพหรือเอกสารที่เป็นผลจากการใช้เครื่องสแกนเนอร์บันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์โดยข้อมูลภาพจะมีลักษณะเป็นจุดภาพ สามารถนำมาแสดงทางจอภาพ ย่อ ขยายหรือตัดต่อได้ และมักเก็บไว้ใช้เพื่อการอ้างอิงเท่านั้น
6.ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (moving data) เป็นภาพที่เกิดจากการนำภาพนิ่งหลาย ๆภาพแสดงต่อเนื่องกันโดยเร็ว ทำให้ผู้ชมเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหว
7.ข้อมูลเสียง (voice data) เป็นข้อมูลที่นิยมนำมาใช้ในงานประมวลผลภาษาธรรมชาติ ( natural language processing) ซึ่งช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถแยกเสียงที่ได้รับออกว่ามีความหมายอะไรเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามที่มนุษย์บอกหรือออก
5.ข้อมูลภาพ (image data) เป็นข้อมูลภาพเช่น ภาพถ่าย หรือภาพที่จัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นข้อมูลที่แสดงความเข้มและสีของรูปภาพหรือเอกสารที่เป็นผลจากการใช้เครื่องสแกนเนอร์บันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์โดยข้อมูลภาพจะมีลักษณะเป็นจุดภาพ สามารถนำมาแสดงทางจอภาพ ย่อ ขยายหรือตัดต่อได้ และมักเก็บไว้ใช้เพื่อการอ้างอิงเท่านั้น
6.ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (moving data) เป็นภาพที่เกิดจากการนำภาพนิ่งหลาย ๆภาพแสดงต่อเนื่องกันโดยเร็ว ทำให้ผู้ชมเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหว
7.ข้อมูลเสียง (voice data) เป็นข้อมูลที่นิยมนำมาใช้ในงานประมวลผลภาษาธรรมชาติ ( natural language processing) ซึ่งช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถแยกเสียงที่ได้รับออกว่ามีความหมายอะไรเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามที่มนุษย์บอกหรือออก
ข้อมูลค่าคงที่ (Literal)
ค่าคงที่เป็นข้อมูลที่มีค่าคงที่และถูกเขียนบรรจุลงในซอร์สโค้ดของเพื่อจุดประสงค์หลายๆอย่าง
ค่าคงที่ส่วนใหญ่จะสอดคล้องกับชนิดข้อมูลคือ
- ค่าคงที่ชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม ใช้สำหรับกำหนดค่าเลขจำนวนเต็ม
เช่น 1 46 หรือ 7048 เป็นต้นซึ่งถือเป็นข้อมูลตัวเลขฐานสิบสำหรับการกำหนดค่าตัวเลขจำนวนเต็มในภาษาจาวาสามารถกำหนดได้หลายฐานตัวเลขนอกเหนือจากฐานสิบ
เมื่อนำหน้าด้วยเลข 0 และตามหลังด้วยเลข 0 ถึง 7 หมายถึงเลขฐานแปด
เช่น 024 มีค่าเท่ากับ 248หรือ 30 ในฐานสิบ
เมื่อนำหน้าด้วยเลข 0x หรือ 0X และตามหลังด้วยเลข
0 ถึง 9 หรืออักษร a ถึง z หรืออักษร A ถึง Z
หมายถึงเลขฐานสิบหก
เช่น 0x1D หรือ 0X1d มีค่าเท่ากับ 1D16 หรือ 29 ในฐานสิบ
- ค่าคงที่ชนิดตัวเลขทศนิยม ใช้สำหรับกำหนดค่าเลขจำนวนทศนิยม
เช่น 12.4, 8.0,
9.33333 หรือ 24E5 เป็นต้น
ในบางกรณีค่าคงที่สามารถระบุขนาดพื้นที่ในการบันทึกค่าได้ 2 แบบคือ
เมื่อต้องการระบุพื้นที่เป็นชนิด float ให้ใช้ตัวอักษร F หลังตัวเลขเช่น 3.0F ทำให้มีพื้นทีในการเก็บเลข 32 บิต หรือเมื่อต้องการต้องการระบุพื้นที่เป็นชนิด double ให้ใช้ตัวอักษร D หลังตัวเลข เช่น 3.0D ทำให้มีพื้นทีในการเก็บเลข 64 บิต ดังนั้นถึงแม้ว่า 3.0F และ 3.0D จะมีค่าเท่ากัน แต่ก็มีพื้นที่ในการบันทึกไม่เท่ากัน (กรณีที่ไม่ระบุ F หรือ D ค่าคงที่นั้นถือเสมือนว่าเป็น D) - ค่าคงที่ชนิดตัวอักษร ใช้สำหรับกำหนดค่าตัวอักษร หรือพยัญชนะหนึ่งตัว ซึ่งการกำหนดต้องอยู่ในสัญลักษณ์หยาดฝน(Single Quote) เช่น ตัวเลข '4' ตัวอักษร 'A' ตัวเลข '9' หรือตัวอักษร '+' เป็นต้น
- ค่าคงที่ชนิดข้อความ ใช้สำหรับกำหนดค่ากลุ่มตัวอักษร
ซึ่งการกำหนดต้องอยู่ในสัญลักษณ์ฟันหนู(Double Quote) เช่น "Java",
"Hello! World", "How do you feel today?" เป็นต้น
- ค่าคงที่ชนิดตรรกะ ใช้สำหรับกำหนดค่าทางตรรกะ
เมื่อต้องการกำหนดค่าความเป็นจริงใช้คีย์เวิร์ด true หรือเมื่อต้องการกำหนดค่าความเป็นเท็จให้ใช้คีย์เวิร์ด
false
ชนิดข้อมูล (Data Type)
ชนิดข้อมูลพื้นฐาน (Primitive Data Type) หมายถึงชนิดข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐานภาษาจาวาถูกออกแบบให้มีชนิดข้อมูลพื้นฐานเนื่องจากผู้ออกแบบต้องการให้ผู้ที่สนใจภาษาจาวาและเคยเขียนโปรแกรมมาก่อนสามารถเข้าใจภาษาจาวาได้อย่างไม่ยากเย็นนักชนิดข้อมูลพื้นฐานมี 4 ประเภทหลักๆดังนี้
- ชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็ม
เช่น 1, 46 หรือ 7048 เป็นต้น
- ชนิดตัวเลขทศนิยม ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนทศนิยม
ดังนั้นข้อมูลชนิดนี้มีความละเอียดกว่าตัวเลขจำนวนเต็มเช่น 12.4, 8.0, 9.33333 หรือ 24E5 เป็นต้น
- ชนิดตัวอักษร ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่ตัวอักษร หรือพยัญชนะหนึ่งตัวเช่นตัวอักษรเลข
4 ตัวอักษร A ตัวอักษรเลข 9
หรือตัวอักษร + เป็นต้น
- ชนิดตรรกะ ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นความจริง
หรือความเท็จ
คีย์เวิร์ดชนิดข้อมูล
|
ข้อมูล
|
ขนาด(บิต)
|
ค่าเริ่มต้น
|
byte
|
ตัวเลขจำนวนเต็ม
|
8
|
0
|
short
|
16
|
0
|
|
int
|
32
|
0
|
|
long
|
64
|
0
|
|
float
|
ตัวเลขทศนิยม
|
32
|
0.0
|
double
|
64
|
0.0
|
|
boolean
|
ข้อมูลตรรกะ
|
true หรือ false
|
false
|
character
|
ตัวอักษร
|
16
|
''
|
ชนิดข้อมูลอ้างถึง (Reference Data Type)
มีความแตกต่างกับชนิดข้อมูลพื้นฐานที่ว่าชนิดข้อมูลชนิดนี้อยู่ในรูปแบบหนึ่งซึ่งการเข้าถึง(ใช้งาน)ข้อมูลเป็นการอ้างถึงมากกว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรงชนิดข้อมูลอ้างถึงมีดังนี้
o
คลาส (Class)
o
ออปเจ็ค (Object) หรืออินสแตนซ์(Instance)
o
แถวลำดับหรืออะเรย์ (Array)
ชนิดของข้อมูลที่ต้องการใส่ในเซลล์ของโปรแกรม Microsoft Excel
1. ข้อมูลประเภทข้อความ (Text) หมายถึงข้อมูลที่ไม่นำมาคำนวณ
อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข
เครื่องหมายการใส่ข้อมูลที่มีความยาวมากกว่าความกว้างของเซลล์ข้อความนั้นจะถูกแสดงต่อไปในเซลล์ที่อยู่ทางขวามือตราบใดที่เซลล์ทางขวามือนั้นยังไม่มีข้อมูล
ข้อมูลชนิดนี้จะถูกจัดให้อยู่ชิดซ้ายของเซลล์เสมอ
2. ข้อมูลประเภทตัวเลข (Numeric) ข้อมูลที่นำมาคำนวณได้ ข้อมูลจะอยู่ชิดขวา และไม่สามารถแสดงผลเกินความกว้างของเซลล์ได้
ถ้าความกว้างของเซลล์ไม่พอจะปรากฏเครื่องหมาย ####### การแก้ไขโดยขยายความกว้างของเซลล์ออกไป
3. ข้อมูลประเภทวันที่ (Date)หมายถึงข้อมูลที่ประกอบด้วยวันที่และเดือน เดือนและปี หรือวันที่
เดือนและปี โดยเดือนสามารถกำหนดได้ทั้งแบบตัวเลข
หรือตัวอักษรข้อมูลชนิดนี้นำไปคำนวณได้
4. ข้อมูลประเภทเวลา (Time)หมายถึงข้อมูลที่ประกอบด้วยชั่วโมงและนาที
โดยมีเครื่องหมาย :ข้อมูลชนิดนี้สามารถนำไปคำนวณได้
5. ข้อมูลประเภทสูตร (Formular)ข้อมูลประเภทนี้คือสมการคณิตศาสตร์
จะต้องใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) นำหน้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น